วันจันทร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 14

อาจารย์ให้เอาของเล่นทุกชิ้นมาส่งให้อาจารย์
และใครที่ยังไม่ได้ทำการทดลองก็ใหเออกมาทำการทดลอง

การที่ออกมาทำการทดลอง
1.  ผ้าเปลี่ยนสี
2.  น้ำพุในขวด
3.  มะนาวตกน้ำ
4.  น้ำอัดลมฟองฟู
5.  ตกไม่แตก
6.  ยาลบหมึก (การทดลองของดิฉัน)

อุปกรณ์
1.  ถ้วยแก้ 2 ใบ
2.  มะนาว 1 ลูก
3.  สำลีพันก้าน
4.  กระดาษหนังสือพิมพ์


วิธีการทดลอง
1.  ผ่านะนาวแล้วบีบดอาแต่น้ำใส่แก้วใบที่หนึ่ง  เติทน้ำสะอาดปริมาณเท่ากับน้ำมะนาวลงไปผสม  คนให้เข้ากัน
2.  ใส่ผงซักฟอกในแก้วใบที่สอง  เติทน้ำสะอาดลงไปอีก 3 เท่า คนให้ละลายเป็นเนื้อเดียาวกัน
3.  เมื่อต้องการจะลบรอยเปลื้อนน้ำหมึก เพื่อนำสำลีจุ่มน้ำมะนาวแล้วนำมาทาบริเวณที่เปลื้อนให้ทั่ว ทิ้งไว้พอแห้ง ก็ใช้ปลายก้านสำลีอีกด้านหนึ่งจุ่มในน้ำผงซักฟอก นำมาทาตรงรอยที่ทามะนาว รอยหมึกจะจางหายไป

เหตุผล
1.  น้ำมะนาวเป็นกรด เมื่อคนรวมกันกับน้ำแล้วกรดก็จะแตกตัวออกเป็นส่วนๆบางส่วนมีคุณสมบัติฟอกจางสีได้
2.  ผงวัหฟอกเป็นสารที่ทำให้วัตถุต่างๆ เปียกน้ำได้ดีจึงชำระล้างสิ่งสกปรกออกจากผิวหน้าของวัตถุได้
3.  ผงวักฟอกนอกจากทำให้วุตถุเปลียกน้ำได้ดี ยังใช้ชำระล้างสิ่งสกปรกให้หลุดกระจายไปอยู่ในน้ำได้ดีด้วย








ของเล่นเข้ามุม
 
กังหันฝันเฟื่อง

วันจันทร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 13


-  เมนูวันนี้ เสนอ การทำ " ข้าวผัด "

  -  โดยมีเพื่อนๆ กลุ่มข้าวผัด แสดงบทบาทสมมติ เป็น ครู และ เพื่อนๆกลุ่มที่เหลือ เป็นนักเรียน
    

      ส่วนประกอบ

               วัตถุดิบ :

                     - ข้าว

                     - ไข่ไก่

                     - เนื้อ หมู กุ้ง ไก่ หมึก

                     - แครอท

                    - มะเขือเทศ

                    - ข้าวโพด

                    - ต้นหอม

                    - ถั่ว

                    - กระเทียม

        เครื่องปรุง :

                    - น้ำมัน

                    - น้ำปลา

                    - น้ำตาล

                    - รสดี

                    - ซีอิ๊วขาว

                    - ซอสหอยนางรม

        อุปกรณ์ :

                    - กระทะไฟฟ้า

                    - ตะหลิว
                    - ช้อน/จาน/ถ้วยเล็ก

                    - มีด/เขียง




ขั้นตอนการทำข้าวผัด 

        1. ล้างเนื้อสัตว์ ล้างผัก   หั่นเนื้อหมู หั่นผัก โขลกกระเทียม เตรียมเครื่องปรุง

        2. ตั้งกระทะให้ร้อน ใส่น้ำมันแล้วรอให้น้ำมันร้อน เปิดไฟอ่อนๆ

        3. ใส่กระเทียมลงไปในกระทะ

        4. พอกระเทียมเริ่มหอมแล้วนำเนื้อที่เตรียมไว้ใส่ลงไปในกระทะ

        5. ผัดให้สุก ใส่ข้าวลงไปและใส่ไข่ตามแล้วผัดให้เข้ากัน แล้วใส่ผักลงไป

        6. ใส่เครื่องปรุงลงไปให้พอเหมาะ คนให้เข้ากัน

        7. ตักใส่จานพร้อมรับประทาน ตกแต่งให้สวยงาม






















วันจันทร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2556

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 12

เรียนกับอาจารย์ตฤณ แจ่มถิน   (อ.เบียร์)
- อาจารย์ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน เพื่อทำแผน คิดเมนูอาหาร


กลุ่มที่ 1  เมนู วุ้นมะพร้าว  อร่อยเหาะ

กลุ่มที่ 2 เมนู แซนวิชของหนู

กลุ่มที่ 3 เมนู Super แกงจืด

กลุ่มที่ 4 เมนูไข่ตุ๋นทงเครื่อง (กลุ่มของดิฉัน)





กลุ่มที่ 5 เมนู ข้าวผัด

** อาทิตย์หน้าอาจารย์เตรียมของมาทำข้าวผัด

วันจันทร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2556

การบันทึกการเรียนการสอนครั้งที่ 11

## ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากอาจารย์ไปดูงานที่ต่างจังหวัด  ##

วันจันทร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2556

การบันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 10

## ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากอาจารย์ติดประชุม ##

วันจันทร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 9

## ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากมี่กิจกรรมของคณะ ##

วันจันทร์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2556

การบันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 8

อาจารย์ให้นักศึกษาออกมานำเสนอการทดลองหน้าชั้นเรียน

- กระดาษกับไม้บล็อก

- ช็อกสลายตัว

-ลูกโป่งในขวด

-ตะเกียบหรรษา

-อากาศต้องการที่อยู๋

-กระป๋องบุบ

วันเสาร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2556

การบันทึกการเข้าเรียนครั้งที  7

- อาจารย์ถามว่านักศึกษาคนไหนทำของเล่นเข้ามุมมาบ้างถ้าใครทำมาให้มานำเสนอหน้าชั้นเรียน
- ถ้านักศึกษาคนไหนที่ยังไม่ได้ทำให้จับกลุ่ม 2 - 3คน โดยอาจารย์จะให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมาหยิบกล่องกลุ่มละ 1 กล่อง เพื่อไปประดิษฐ์ของเล่นเข้ามุม




วันอาทิตย์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

การบันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 6

อาจารย์ให้นักศึกษาออกมาเล่นของเล่นที่นักศึกษาเตรียมมามาเล่นให้เพื่อนดูหน้าห้องที่ละคน

1. แฮรี่ครอปเตอร์กระดาษ
2. กังหันลมจิ๋ว
3. ไก่กะต้าก
4. โยโย่กระดาษ
5. เลี้ยงลูกบอลด้วยลม
6. สกิตเทิล
7. ลูกข่างกับแผ่นซีดีเก่า
8. เรือพลังงาน
9. ครปเตอร์ไม้ไอติม
10. รถไถ่หลอดด้าย
11. กล้องผสมสี
12.  กล้องผสมสี (ของดิฉัน)

อุปกรณ์
1. แกนการะดาษทิชชู่
2.  กระด่ษแก้ว
3.  กระดาษแข็ง
4. กระดาษสี
5.  กรรไกร
6. สติ๊กเกอร์เป็นลายต่างๆ
7.  กาวสองหน้า
8.  แม็ก

วิธีการทำ
1.  ตัดแกนกระดาษทิชชู่แบ่งเป็น 6 อัน
2.  นำแกนกระดาษทิชชู่ทั้ง 6 อัน มาวันกับกระดาษแก้วพอวัดเสร็จแล้วนำมาติดให้ครบทั้ง 6 อัน
3.  นำแกนกระดาษทิชชู่มาวัดกับกระดาษสีทั้ง 2 สี  พอวัดเสร็จแล้วนำมากระดาษสีทั้ง 2 สี มาติดสีละ 3 อัน
4.  แล้วนำสติ๊กเกอร์มาติดทั้ง 6 อัน
5.  วัดกระดาษแข็งเพื่อจะนำมาเป็นตัวเชื่อมพอวัดเสร็จแล้วนำไปแม็ก
6.  แม็กเสร็จแล้วนำไปติดกับแกนกระดาษทิชชู่สีฟ้า

ของเล่นเกี่ยวกับแสง
     การมองเห็นผ่านกล้องทำให้ลำแสงผ่านกระดาษแก้ว อย่างเช่น หยิบแกนกระดาษทิชชู่ที่มีกระดาษแก้วสีเหลืองแล้วไปหยิบกระดาษแก้วแดงจะกายเป็นสีอะไร




***การบ้าน

1. ให้นักศึกษาหาสื่อของเล่นเข้ามุมมา 1 ชิ้น

วันจันทร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

การบันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 5

อาจารย์ให้นักศึกษาออกไปนำเสนอ "ของเล่น" ที่หามา

หัวข้อมี 3 หัวข้อดัง 
1. อุปกรณ์
2. วิธีการทำ
3. วิธีการเล่น

***อาทิตย์หน้าให้ของเล่นมาเล่นให้เพื่อนในห้องดู


วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

การบันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 4

อาจารย์ให้นักศึกษาวาดภาพเคลื่อนไหวภาพอะไรก็ได้
อาจารย์เปิด VDO ให้ดู เรื่อง มหัศจรรย์ของน้ำ





วันจันทร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

การบันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 3

อาจารย์ และ นักศึกษาร่วมกัน สรุป  6 ประเด็น เป็น mind map

ประเด็นที่ 1  ความหมาย - สิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา
 - สิ่งที่เป็นความรู้และกระบวนการ
 - หลักฐานที่เป็นเหตุเป็นผลสามารถพิสูจน์ได้
  - ความรู้ที่ผ่านการ ทดลอง สังเกต และค้นคว้า
 ประเด็นที่ 2  ความสำคัญ
 - ช่วยพัฒนาความคิดเป็นเหตุเป็นผล
 - ทำให้มีทักษะสำคัญในการค้นคว้า
 - พํฒนาเทคโนโลยี
 - ทำให้เกิดความสะดวกสบายในการดำเนินชีวิต
 - ช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ
 ประเด็นที่ 3  พัฒนาการทางสติ
- การเจริญงอกงามของความคิดความฉลาด
- พัฒนาจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
- กระบวนการเกิดขึ้นตลอดเวลา
- กระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาทำให้เกิดการปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
- กระบวนการปฏิสัมพันธ์
- ขั้นของพัฒนาการทางสติปัญญา
        = ขั้นประสาทสัมผัส ( Sensory moter ) แรกเกิด - 2 ปี
        = ขั้นก่อนปฏิบัติการ ( Pre - operate )2 - 6 ปี แบ่งเป็น 2-4 ปี / 4-6 ปี

    ประเด็นที่ 4  การเรียนรู้- การเปลี่ยนแปลงพฤติกรม
- เส้นใยสมองเชื่อมโยงกัน
        = เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมตามกระบวนการปฏิสัมพันธ์

    ประเด็นที่ 5  แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์- การเปลี่ยนแปลง
        = ทุกสิ่งอย่างในโลกนี้ มีการเปลี่ยนแปลง
- ความแตกต่าง
        = ทุกสิ่งอย่างมีความคล้ายคลึงกัน
- การปรับตัว
        = ทุกสิ่งอย่างมีการปรับตัวซึ่งกันและกัน
- การพึ่งพาอาศัย
        = ทุกสิ่งอย่างต้องมีการพึ่งพาอาศัยกัน
- ความสมดุล
        = ทุกสิ่งอย่างต้องต่อสู้ให้มีชีวิตรอดเพื่อเกิดความสมดุล
- วิธีการทางวิทยาศาสตร์

    ประเด็นที่ 6 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- การค้นคว้า หาความรู้อย่างเป็นระบบ ( เด็กปฐมวัย ) เพราะ เป็นตัวที่ทำให้เกิดทักษะ ( การกระทำ )
- ผลผลิต สิ่งที่ได้หลังจากการ ทดลอง

อาจารย์ ให้นักศึก ดู vdo เรื่อง ความลับของ แสง









วันจันทร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2556

การบันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 2

ความหมาย ความสำคัญ กระบวนการ ขั้นตอนทางวิทยาศาสตร์ แล้วอาจารย์เปิดดู ซีดี เรื่อง อากาศ

- อาจารย์ให้นักศึกษา จับกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน ได้ 5 กลุ่ม แต่ละกลุ่มแบ่งตามหัวข้อ ดังนี้
งานทั้งหมด มี 6 ประเด็น กลุ่มที่ 1     ความหมาย และ ความสำคัญ

กลุ่มที่ 2     พัฒนาการด้านสติปัญญา

กลุ่มที่ 3     การเรียนรู้

กลุ่มที่ 4    แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์

กลุ่มที่ 5    กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

***ให้นักศึกษาแบ่งกันอ่านและสรุปในแต่ละหัวข้อ โดยเปลี่ยนกันอ่านจนครบทุกคนในกลุ่ม

***การบ้าน

ไปหาของเล่นเกี่ยวกับอากาศมา 1 ชิ้น ยังไม่ต้องทำสิ่งของมาแต่ให้คิดไว้ก่อน

วันจันทร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2556

การบันทึกการเข้าเรียนครั้งที 1

อาจารย์ปฐมนิเทศ เรื่ิอง การแต่งการ สีผม ร้องเท้า